การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ เรื่อง การประมวลข้อมูลสำรวจระยะไกลแบบเปิดและการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่ สำหรับการจัดการทรัพยากรน้ำและธรณีพิบัติ

การสัมมนาเชิงปฏิบัติการ

เรื่อง การประมวลข้อมูลสำรวจระยะไกลแบบเปิดและการวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่สำหรับการจัดการทรัพยากรน้ำและธรณีพิบัติ

Workshop for Open Remote Sensing and Big Data Analyticfor Water Resource Management and Geohazard

ณ ห้องประชุม 206 สมาคมนิสิตเก่าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์

วันที่ 28-29 ตุลาคม 2563

(รับจำนวนจำกัด 30 ท่าน)

วัตถุประสงค์

1. เพื่อเผยแพร่การใช้ประโยชน์ข้อมูลสำรวจระยะไกลแบบเปิด (Open Data)

2. แลกเปลี่ยนแนวทางในการใช้ประโยชน์ การวิเคราะห์ข้อมูลขนาดใหญ่สำหรับการจัดการทรัพยากรน้ำและธรณีพิบัติ

กำหนดการ

วันพุธที่ 28 ตุลาคม 2563

08:30-09:00    ลงทะเบียน

09:00-09:30    หลักการเบื้องต้น Optical Radar Remote Sensing

09:30-10:00    หลักการเบื้องต้นการทำแผนที่จากภาพถ่ายทางอากาศและยูเอวี

10:00-10:15    พักรับประทานอาหารว่าง

10:15-12:00    การประยุกต์ใช้ Sentinel Hub การดึงข้อมูลจาก Corpernicus Open Access Hub, ASFVertext

                       การใช้ ESA SNAP ในการประมวล Water Bodies

12:00-13:00    พักรับประทานอาหารเที่ยง

13:00-14:30    การใช้ ESA SNAP ในการประมวล ข้อมูล Optical Multispectral กรณี การใช้ที่ดิน ป่าไม้ ด้วย Machine Learning RandomForest

14:30-14:45    พักรับประทานอาหารว่าง

14:45-16:00    การใช้ ESA-SNAP ประมวลข้อมูล radar สำหรับ Water Bodies, Flood

                       การใช้ ESA-SNAPประมวลข้อมูล radar สำหรับการตรวจสอบแผ่นดินยุบด้วย radar interferometry

 

วันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม 2563

08:30-09:00    ลงทะเบียน

09:00-10:00    การใช้งาน python , rasterio, sentinelsat สำหรับการเข้าถึงข้อมูล Open Remote Sensing

10:00-10:15    พักรับประทานอาหารว่าง

10:15-12:00    การประมวลอัตโนมัติด้วย python script สำหรับการติดตามแหล่งน้ำ time-series water resource (NDWI)

                       การประมวลอัตโนมัติด้วย python script สำหรับ Crop Monitoring with NDVI ,

                       พื้นที่เผาใหม้ NBR

12:00-13:00    พักรับประทานอาหารเที่ยง

13:00-14:30    การใช้ Python / GeoDataFrame เข้าถึงข้อมูลประชากร (Facebook AI Population)

14:30-14:45    พักรับประทานอาหารว่าง

14:45-16:00    การเข้าถึงข้อมูลไฟป่า (FIRMS) ด้วยวิธีการ GeoDataFrame

 

สิ่งที่ผู้เข้าร่วมสัมนาควรนำมา

  1. คอมพิวเตอร์พกพาประสิทธิภาพสูง CPU i7 Ram 8 GB ขึ้นไป Harddiskแบบ SSD ความจุ
    อย่างน้อย 200 GB ขึ้นไป
  2. ซอฟท์แวร์ ESA Snap (http://step.esa.int/main/download/snap-download/), Python 3.8
  3. อีเมลล์ Gmail เพื่อใช้ซอฟท์แวร์ Google Colab
  4. ผู้เข้าอบรมควรมีพื้นฐานการใช้โปรแกรม Python
  5. จอแยกขนาดอย่างน้อย 15 นิ้ว (แล้วแต่ความสะดวก)

แบบตอบการสัมนาเชิงปฏิบัติการ

pdf word

 เอกสารอบรม

Google Drive

วันที่ 26 ตุลาคม 2563

00-1-Program_OpenRS

01-1-Presentation_28-29_Oct_2020

01-2-S1TBX TOPSAR Interferometry with Sentinel-1 Tutorial_v2

01-3-rtc s-1 with script_s1tbx v7

02-OpticalRSApplication

03-1-RadarApplicationInfra

03-2-HAZA01_FloodMapping_Malawi_Tutorial

03-3-HAZA05_EarthquakeDeformation_Hawaii

03-4-Video Landslide

ข้อมูล

01-กรอบเขื่อนป่าสักชลสิทธิ์

02-S1A_IW_SLC__1SDV_20180623T185856_20180623T185923_022488_026F84_32C6

03-S1A_IW_SLC__1SDV_20180717T185857_20180717T185924_022838_0279F5_B025

04-S1B_IW_GRDH_1SDV_20191001T230812_20191001T230837_018288_022723_32B7

05-S2B_MSIL1C_20191019T033739_N0208_R061_T47PQS_20191019T080752.SAFE

วันที่ 27 ตุลาคม 2563

04-OpenRS GeoBigData

05-OpenRS Google Colab Manaual

ข้อมูล

01-Thailand: High Resolution Population Density Maps +

02-THA_men_2019-06-01

03-tha_women_2019-06-01_geotiff

04-SUOMI_VIIRS_C2_SouthEast_Asia_7d

05-Population Thailand 2020 csv

06-Population Thailand 2020 tif

07-Fire Maps NASA

 

 

กรุณาส่งแบบตอบรับภายในวันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม 2563 หมายเลขโทรสาร 0-2218-6425 หรือ อีเมล์ hem1722@hotmail.com

แผนที่สถามที่