การประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 “Salt intrusion” การกระจายของความเค็มในแม่น้ำเจ้าพระยา

การประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1
“Salt intrusion” การกระจายของความเค็มในแม่น้ำเจ้าพระยา

ห้อง 213 ตึก 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์
วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม 2559

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
•หาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการไหลและการแทรกตัวของน้ำเค็ม
•หาเกณฑ์การปล่อยน้ำที่เหมาะสมในการกำหนดมาตรการการจัดการต่อการแทรกตัวของน้ำเค็ม
•สรุปผลกระทบด้านสังคมและเศรษฐกิจจากการแทรกตัวของน้ำเค็ม
•เสนอแนะมาตรการจัดการต่อการแทรกตัวของน้ำเค็มที่เหมาะสม

ขอบเขตของการวิจัย
Ÿลำน้ำเจ้าพระยา (จากปากแม่น้ำ ถึง อยุธยา)
Ÿเน้นการวิเคราะห์ในช่วงฤดูแล้ง (มกราคม-เมษายน).....
Ÿการกำหนดเกณฑ์และจุดอ้างอิง(ปัจจุบันสะพานพุทธที่ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร)
Ÿมาตรการจัดการต่อการแทรกตัวของน้ำเค็มที่เหมาะสมที่พิจารณาเช่น
ย้ายจุดอ้างอิงกำหนดเกณฑ์ความเค็ม
กำหนดอัตราการปล่อยน้ำกับการปิด-เปิดประตูน้ำ
ย้ายจุดรับน้ำดิบทำน้ำประปา

กำหนดการ

08.30-09.00 น.

ลงทะเบียน

 

09.00-09.10 น.

กล่าวเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1

โดย รศ.ดร. สุจริต  คูณธนกุลวงศ์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

 

09.10-09.30 น.

แนะนำความเป็นมาของโครงการฯ

และวัตถุประสงค์ของการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1

โดย ผศ.ดร.อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

09.30-10.30 น.

การสำรวจด้านชลศาสตร์

 โดย ผศ.ดร.อนุรักษ์ ศรีอริยวัฒน์

คณะวิศวกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

10.30-10.45 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

10.45-11.45 น.

การจำลองสภาพการไหล และลักษณะการพา

และการแพร่กระจายของความเค็มในแม่น้ำเจ้าพระยา

โดย ดร.ชูชีพ วงศ์สุภาพ