2nd Workshop on Chao Phraya Salt Intrusion Mitigation Measures (th)

การประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2
​มาตรการบรรเทาปัญหาการรุกตัวของน้ำเค็มในแม่น้ำเจ้าพระยา

2nd Workshop on Chao Phraya Salt Intrusion Mitigation Measures

ห้อง 213 ตึก 3 คณะวิศวกรรมศาสตร์
วันพฤหัสบดีที่ 18 สิงหาคม 2559

วัตถุประสงค์ของการวิจัย
•หาความสัมพันธ์ระหว่างอัตราการไหลและการแทรกตัวของน้ำเค็ม
•หาเกณฑ์การปล่อยน้ำที่เหมาะสมในการกำหนดมาตรการการจัดการต่อการแทรกตัวของน้ำเค็ม
•สรุปผลกระทบด้านสังคมและเศรษฐกิจจากการแทรกตัวของน้ำเค็ม
•เสนอแนะมาตรการจัดการต่อการแทรกตัวของน้ำเค็มที่เหมาะสม

ขอบเขตของการวิจัย
Ÿลำน้ำเจ้าพระยา (จากปากแม่น้ำ ถึง อยุธยา)
Ÿเน้นการวิเคราะห์ในช่วงฤดูแล้ง (มกราคม-เมษายน).....
Ÿการกำหนดเกณฑ์และจุดอ้างอิง(ปัจจุบันสะพานพุทธที่ 2 มิลลิกรัมต่อลิตร)
Ÿมาตรการจัดการต่อการแทรกตัวของน้ำเค็มที่เหมาะสมที่พิจารณาเช่น
­ย้ายจุดอ้างอิงกำหนดเกณฑ์ความเค็ม
­กำหนดอัตราการปล่อยน้ำกับการปิด-เปิดประตูน้ำ
­ย้ายจุดรับน้ำดิบทำน้ำประปา

กำหนดการ
 

13.00-13.15 น.

กล่าวเปิดการประชุมเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2และแนะนำความเป็นมาของโครงการ 
โดย รศ.ดร. ทวนทัน กิจไพศาลสกุล
คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

13.15-14.00 น.

อุทกวิทยาการจัดสรรน้ำเขื่อนเจ้าพระยา

โดย ดร.สุภัทรา วิเศษศรี

คณะวิศวกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

14.00-14.15 น.

พักรับประทานอาหารว่าง

 

14.15-15.15 น.

มาตรการบรรเทาปัญหาการรุกตัวของน้ำเค็ม

โดย ดร.เปี่ยมจันทร์ ดวงมณี และ ดร.พงษ์ศักดิ์

คณะวิศวกรรมศาสตร์  จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย



15.15-16.00 น.

ถาม-ตอบ ปิดการประชุม